วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่16

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 16

วันศุกร์ ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ





สอบปลายภาค



สัปดาห์ที่15

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15

วันศุกร์ ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2557

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ



           ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากตรงกับวันมาฆบูชา



สัปดาห์ที่14

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 14

วันศุกร์ ที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ



ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์พาพี่ปี 4 ไปทำกิจกรรมอาสาที่จังหวัด สุราษฏร์ธานี 

สัปดาห์ที่13

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 13

วันศุกร์ ที่ 31มกราคม 2557

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ (L.D)







สัปดาห์ที่12

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 12

วันศุกร์ ที่ 24 มกราคม 2557

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


การดูแลรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องพิเศษ





วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่11

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 11

วันศุกร์ ที่ 1 มกราคม 2557

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ



ไม่มีการเรียนการสอน มีการชุมนุม จึงทำให้นักศึกษาเดินทางมาเรียนไม่สะดวก


สัปดาห์ที่10

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 10

วันศุกร์ ที่ 10 มกราคม 2557

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


ไม่มีการเรียนการสอน สอบกลาค นอกตาราง



สัปดาห์ที่9

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 9

วันศุกร์ ที่ 3 มกราคม 2557

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


ไม่มีการเรียนการสอน วันหยุดสิ้นปี



สัปดาห์ที่8

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 8

วันศุกร์ ที่ 27 ธันวามคม 2556 

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


ไม่มีการเรียนการสอน วันหยุดสิ้นปี



สัปดาห์ที่7

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 7

วันศุกร์ ที่ 20 ธันวามคม 2556 

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


ไม่มีการเรียนการสอน สอบกลางภาค


สัปดาห์ที่6

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 6

วันศุกร์ ที่ 13 ธันวามคม 2556 

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ



อาจารย์ให้นำเสนองาน


1. เด็กออทิสติก            น.ส จินตนา แก้วแสงสิม    น.ส ณัฐวดี  ขำสม     น.ส นพมาศ  วันดี
2. เด็กดาวน์ซินโดรม   น.ส กรรจิรา  สึกขุนทด   น.ส บงกช  รัศมีธนาวงศ์     น.ส พัชรี คำพูล
3. เด็กสมองพิการ (เด็กซีพี)   น.ส นฤมล  มลิวัลย์     น.ส เณฐิดา    แก้วปุ๋ย   น.ส ชิดชนก เสโส
      4.  เด็กสมาธิสั้น          น.ส สุภาภรณ์  ชุ่มชื่น  น.ส รัตติกาล เด่นดี     น.ส นิตยา  มุกจันทร์      
      5. เด็กแอลดี               น.ส อลิสา  มานะ    น.ส กรกนก ชินน้อย  น.ส รสิตา มณีศรี  น.ส ชุติภา สมบุญคุณ
     6.  เด็กปัญญาเลิศหรือ IQ สูง   น.ส อรอุมา บุญประเสริฐ   น.ส วศินี อินอ่อน

สัปดาห์ที่5

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 5

วันศุกร์ ที่ 6 ธันวามคม 2556 

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ

พัมนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

พัฒนาการ
ความหมาย
-การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆ
-สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น


เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
-  มีพัฒนาการล่าช้ากว่าปกติในวัยเดียวกัน
-  พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านในด้านหนึ่งหรือหลายด้าน
-  พัฒนาการล่าช้าในด้านหนึ่งอาจส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้าไปด้วย

ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก
      - ปัจจัยที่มีผลต่อชีวภาพ เช่น พันธุกรรม
      -ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
      -ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
      -ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด

     สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางด้านพัฒนาการ
    
    1)โรคทางพันธุกรรมเด็กจะมีพัฒนาการล่าช้ามาตั้งแต่เกิดหรือสังเกตได้ชั่วระยะไม่นานหลังเกิด มักมีลักษณะผิดปกติตั้งแต่กำเนิดร่วมด้วย
    2)โรคทางระบบประสาท
    -เด็กจะมีความบกพร่องทางพัฒนาการส่วนใหญ่มักมีอาการหรืออาการแสดงทางระบบประสาทร่วมด้วย
    -ที่พบบ่อยคืออาการชัก
   3)การติดเชื้อ
    -การติดเชื้อตั้งแต่ในครรภ์ น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อย ศีรษะเล็กกว่าปกติ อาจมีตับ ม้ามโต การได้ยินบกพร่อง เป็นต้อกระจก
   -นอกจากนี้การติดเชื้อรุนแรงภายหลังเกิด เช่น สอมงอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เป็นสาเหตุที่พบได้บ้าง
   4)ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม/(เผาผลาญ)
    -โรคที่เป็นปัญหาสาธารณะสุขไทย คือ ไทรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ
   5)ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
   -การเกิดก่อนกำหนด น้ำหนักตัวแรกเกิดน้อยและภาวะขาดออกซิเจน
  6)สารเคมี
     6.1ตะกั่ว
-  -ตะกั่วเป็นสารที่มีผลกระทบต่อเด็กและมรการศึกษามากที่สุด
    -มีอาการซึมเศร้าเคลื่อนไหวช้า ผิวดำหมองคล้ำเป็นจุดๆ
    -ภาวะตับเป็นพิษ
   -ระดับสติปัญญาต่ำ
    6.2 แอลกอฮอร์
    6.3 นิโคติน
   7)การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร

-       แนวทางการวินิจฉัย เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
  
  1.ซักประวัติ
-โรคประจำตัว
-การเจ็บป่วยในครอบครัว
-ประวัติการฝากครรภ์
-ประวัติเกี่ยวกับการคลอด
-พัฒนาการที่ผ่านมา
-การเล่นตามวัย การช่วยเหลือตนเอง
-ปัญหาพฤติกรรม
-ประวัติอื่นๆ                                                                                                                                             
เมื่อซักประวัติแล้วสามารถบอกได้ว่า
-พัฒนาการล่าช้าเป็นไปแบบคงที่และถดถอย
-เด็กมีพัฒนาการล่าช้าหรือไม่ อย่างไร อยู่ในระดับไหน
-มีข้อบ่งชี้ว่ามีสาเหตุจากโรคทางพันธุกรรมหรือไม่
-สาเหตุความบกพร่องทางพัฒนาการนั้นเกิดจากอะไร
-ขณะนี้เด็กได้รับการช่วยเหลือฟื้นฟูอย่างไร
2.การตรวจร่างกาย
-ตรวจร่างกายทั่วไปและการเจริญเติบโต
-ภาวะตับ ม้ามโต
-ผิวหนัง
-ระบบประสาทและวัดศีรษะด้วยเสมอ
-ดูลักษณะของเด็กที่ถูกทารุณกรรม
-ระบบการมองเห็นและการได้ยิน
3. การสืบค้นทางห้องปฏิบัติการ
4.การประเมินพัฒนาการ
-ประเมินแบบไม่เป็นทางการ
-การประเมินที่ใช้เวชปฏิบัติ 
-แบบทดสอบ Denver II
Gesell Drawing Test
แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิด-5 ปี ของสถาบันราชานุกูล
แนวในทางการดูแลรักษา
 -หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
-การตรวจค้นหาความผิดปกติร่วม
-การรักษาหาสาเหตุโดยตรง
- การส่งเสริมพัฒนาการ
-ให้คำปรึกษากับครอบครัว
ขั้นตอนในการดูแลเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
-การคัดกรองพัฒนาการ
-การประเมินพัฒนาการ
-การให้การวินิจฉัยและหาสาเหตุ
-การให้การรักษาและส่งเสริมพัฒนาการ
-การติดตามและประเมินผลการรักษาเป็นระยะ







สัปดาห์ที่4

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 4

วันศุกร์ ที่ 29 พฤศจิกายน 2556 

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


6. เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์

- เด็กที่มีควบคุมอารมณ์ตนเองไม่ได้
- ไม่สามารถปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ได้
- ทำให้ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้

แบ่งได้ 2 ประเภท
- เด็กที่ได้รับความกระทบกระเทือนทางอารมณ์
- เด็กที่ปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้

เด็กที่ปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้มักมีพฤติกรรมนี้เห็นได้เด่นชัด คือ 
- วิตกกังวล >>>กังวลทุกอย่าง,กังวลทุกเรื่อง
- หนีสังคม>>>ชอบอยู่คนเดียว
- ก้าวร้าว>>>ทำร้ายเพื่อน,ตนเอง

การจะจัดว่าเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบดังนี้
- สภาพแวดล้อม
- ความคิดเห็นของแต่ละบุคคล

ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อเด็ก
- ไม่สามารถเรียนในห้องเรียนปกติได้
- ทำงานร่วมกับเพื่อนไม่ได้ ไม่เคารพครู
- มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เมื่อเทียบกับเด็กในวัยเดียวกัน
- มีความขับข้องใจ และมีความเก็บกดอารมณ์
- แสดงอาการทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดตามส่วนต่างๆของร่างกาย
- มีความหวาดกลัว

เด็กที่มีความบกพร่องหาพฤติกรรม ซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก
- เด็กสมาธิสั้น (Children with Attention Deficit and Hyperactivity Disorders)
- เด็กออทิสติก (Autistic) หรือ ออทิสซึ่ม (Autisum)

(Children with Attention Deficit and Hyperactivity Disorders)
- เรียกย่อๆว่า ADHD
- เด็กที่ซนอยู่ไม่นิ่ง ซนมากผิดปกติ เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา 
- เด็กบางคนมีปัญหาเรื่องสมาธิบกพร่อง อาการหุนหันพลันแล่น ขาดความยับยั้งชั่งใจ เด็กเหล่านี้ทางการแพทย์ เรียกว่า Attention Deficit Disorders 

ลักษณะของเด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
- อุจจาระ ปัสสาวะรดเสื้อผ้า หรือที่นอน
- ยังติดขวดนม หรือ ตุ๊กตา และของใช้ในวัยทารก
- ดูดนิ้ว กัดเล็บ
- หงอยเหงาเศร้าซึม 
- เรียกร้องความสนใจ
-อารมณ์หวั่นไหวง่ายต่อสังคม
- ขี้อิจฉาริษยา ก้าวร้าว 
- ฝันกลางวัน
- พูดเพ้อเจ้อ


7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้(LD) IQ เท่ากับเด็กปกติ  (Children with Learning Disability)

- เรียกย่อๆว่า L.D.(Learning Disability)
- เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เฉพาะอย่าง
- เด็กที่มีปัญหาทางการใช้ภาษา หรือ การพูด การเขียน
 ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียน เด็กที่มีปัญหาเนื่องจากความพิการ หรือความบกพร่องทางร่างกาย

ลักษณะของเด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
- มีปัญหาในทักษะทางคณิตศาสตร์
- เรียงลำดับเหตุการณ์ไม่ได้
- มีปัญหาทางการอ่าน เขียน
- ซุ่มซ่าม
- รับลูกบอลไม่ได้
- ติดกระดุมไม่ได้
- เอาแต่ใจตัวเอง


8. เด็กออทิสติก (Autistic) 

- หรือ ออทิสซึ่ม (Autisum)
- เด็กที่มีความบกพร่องทางการสื่อความหมาย โลกส่วนตัวสูง ไม่เข้าสังคม
- เด็กออทิสติกแต่ละคนจะมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง
-ติดตัวเด็กไปตลอดชีวิต
-มีทักษะสูงทางด้าน ภาษา, สังคม, การเคลื่อนไหว, จินตนาการ, การรับรู้เกี่ยวกับรูปทรง ขนาดและพื้นที่ 


ลักษณะของเด็กออทิสติก
- อยู่ในโลกของตัวเอง
-ไม่เข้าไปหาใครเพื่อให้ปลอบใจ
- ไม่เข้าไปเล่นในกลุ่มเพื่อน
- ไม่ยอมพูด, (พูดไม่รู้เรื่อง)
- เคลื่อนไหวแบบซ้ำๆ
- ยึดติดกับวัตถุ
- ต่อต้าน หรือแสดงกิริยา อารมณ์รุนแรง และไร้เหตุผล
- มีทีท่าเหมือนคนหูหนวก
- ใช้วิธีการสัมผัส และเรียนรู้สิ่งต่างๆด้วยวิธีการที่ต่างไปจากคนอื่น


9. เด็กพิการซ้อน (Children with Multiple Hendicaps)

- เด็กที่มีความบกพร่องที่มากกว่า 1อย่าง 
- เด็กปัญญาอ่อนที่สูญเสียการได้ยิน
- เด็กปัญญาอ่อนที่ตาบอด
- เด็กที่ทั้งหูหนวกและตาบอด








สัปดาห์ที่3


บันทึกการเข้าเรียนครั้้งที่ 3

วันศุกร์ ที่ 22 พฤศจิกายน 2556 

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


4.เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือสุขภาพ








5.เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา





วันพฤหัสบดีที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556

สัปดาห์ที่2

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 2

วันศุกร์ ที่ 15 พฤศจิกายน 2556 

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


กระทรวงศึกษาธิการได้แบ่งเด็กที่มีความต้องการพิเศษออกเป็น 10 ประเภท โดยเป็นเด็กพิการที่ต้องการการจัดการศึกษาพิเศษ 9 ประเภท และเป็นเด็กที่มีความสามารถพิเศษ 1 ประเภท จะแบ่งเป็น 2กลุ่มใหญ่ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง
มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา "เด็กปัญญาเลิศ"
2.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง

  1. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
  2. เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน 
  3. เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น
  4. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือสุขภาพ
  5. เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
  6. เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
  7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
  8. เด็กออทีสติก 
  9. เด็กพิการซ้อน


1.เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

2.เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน 


3.เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น




วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

สัปดาห์ที่1


บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 1

วันศุกร์ ที่ 8 พฤศจิกายน 2556 

     วิชาการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ


      วันนี้เป็นการเรียนคาบแรกของวิชานี้ อาจารย์ได้ปฐมนิเทศเกี่ยวกับการเรียน การแต่งกาย และได้ให้ทำ mind mapping ในหัวข้อ "เด็กพิเศษ"  โดยให้ทำตามจินตนาการของเรา เนื้อหาที่จำนำไปใส่ใน mind mapping ให้ยึดตามความรู้เดิมที่เราเคยมีประสบการณ์มา เพราะอาจารย์ต้องการทราบความรู้เดิมของเราก่อนที่จะทำการเรียนการสอนในคาบต่อไป และนำไปเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษา